web analytics

บุญ

ประชาสัมพันธ์วันสำคัญ

เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน

เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน บุญข้าวประดับดิน จัดขึ้นในช่วงปลายเดือนเก้าเป็นการทําบุญให้ญาติผู้ล่วงลับ โดยการนําข้าวปลาอาหารคาวหวาน หมากพลู บุหรี่อย่างละเล็กละน้อย ห่อด้วยใบตองเป็นสองห่อกลัดติดกันเตรียมไว้ตั้งแต่หัวค่ำ ครั้นถึงเวลาตีสาม ตีสี่ของวันรุ่งขึ้นจะนําห่ออาหารและหมากพลูไปวางไว้ตามโคนต้นไม้รอบๆ วัด เพื่อให้ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับ รวมทั้งผีไร้ญาติอื่นๆ ซึ่งเชื่อว่าจะมาเยี่ยมญาติพี่น้องในเวลานี้มารับไปเพื่อจะได้ไม่อดอยากหิวโหย นอกจากจะเป็น การทําบุญและทําทานแล้วยังแสดงถึงความกตัญญูอีกส่วนด้วย   มูลเหตุของพิธีกรรม คนลาวและไทยอีสานมีความเชื่อสืบต่อกันมาแต้โบราณกาลว่ากลางคืนของเดือนเก้าดับ (วันแรมสิบสี่ค่ำเดือนเก้า)

แบ่งปันลิงค์นี้ :
Read More
งานบุญทั่วไทยประชาสัมพันธ์

โครงการ สร้างกุฏิเจ้าอาวาส พุทธสถานโนนเมืองเพ็ง

ย้อนไปราว 440 ปีที่แล้ว ครั้นสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองเมืองอยู่เวียงจันทร์ ด้วยเหตุใดไม่ทราบแน่นอน ได้ย้ายเมืองพร้อมไพร่พล ช้างม้าวัวควาย ราชทรัพย์ต่างๆมาอยู่ ณ โนนเมืองเพ็ง (โนนเมืองเพ็ง จ.ขอนแก่น ในปัจจุบัน) ปฐมเหตุแห่งเรื่องราวนี้ได้เกิดขึ้นเมื่อคราวโรคระบาดได้คร่าชีวิตผู้คนในเมืองไปเป็นจำนวนมาก นั่นคือโรคห่าหรือโรคฝีดาษ เพราะสมัยก่อนไม่มียารักษา ทำให้ผู้คนต่างล้มตายไป ครั้นหลัง ณ ตอนนี้

แบ่งปันลิงค์นี้ :
Read More
ธรรมะ

บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน

“บุญ แปลตามศัพท์ว่า ชำระ ฟอกล้าง ท่านแสดงว่าแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ บุญที่เป็นส่วนของเหตุได้แก่ความดีต่างๆ เรียกว่าเป็นบุญ เพราะเป็นเครื่องชำระฟอกล้างความชั่ว บุญส่วนที่เป็นผลคือความสุข บุญที่เป็นส่วนเหตุ คือความดีเกิดจากการกระทำ ถ้าอยู่เฉยๆ ไม่ทำก็ไม่เกิดเป็นบุญขึ้น การทำบุญนี้เรียกว่าบุญกิริยา จำต้องมีวัตถุ คือ สิ่งเป็นที่ตั้ง

แบ่งปันลิงค์นี้ :
Read More
ธรรมะ

การให้ทานในแบบต่างๆ และผลของทานชนิดนั้นๆ

การให้ทานในแบบต่างๆ และผลของทานชนิดนั้นๆ ปัญหา ก่อนที่จะให้ทาน ถ้าเราตั้งใจขอให้ได้เสวยผลของทานผลจะเป็นอย่างไร? พุทธดำรัสตอบ “…บุคคลมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลแล้วให้ทานมุ่งการสั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิดว่า ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นจตุมหาราช สิ้นกรรม สิ้นฤทธิ์ สิ้นยศ หมดความเป็นใหญ่แล้ว ยังมีการกลับมา คือมาสู่ความเป็น (มนุษย์) อย่างนี้”

แบ่งปันลิงค์นี้ :
Read More